คอมพิวเตอร์แต่ละระบบส่วนใหญ่จะแยกทำงานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ใกล้กันเท่านั้นที่สามารถสื่อสารกันด้วยความเร็วต่ำ
จากปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และความต้องการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน
จึงทำให้เกิดโครงการอาร์พาเน็ต (ARPANET)
โครงการอาร์พาเน็ตอยู่ในความควบคุมดูแลของอาร์พา (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานย่อย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อาร์พาทำหน้าที่สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้ทุนสนับสนุน แก่หน่วยงานอื่น ๆ เช่น มหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนที่ทำการวิจัยและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969)
โครงการอาร์พาเน็ต ได้ริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4 แห่งนี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน
ต่อมาเครือข่ายอาร์พาเน็ตได้รับความนิยมอย่างมาก มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมเชื่อมต่อกับเครือข่ายนี้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและวิจัย
ในประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในลักษณะของการใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความร่วมมือระหว่างไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใช้สายโทรศัพท์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ต (UUNET) ของบริษัทยูยูเน็ตเทคโนโลยี จำกัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยู่ที่รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาและในปีเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่นสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต (THAINET) ซึ่งในปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สำนักวิทยาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ในปีเดียวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ได้จัดตั้งเครือข่ายไทยสารซึ่งต่อมาได้ต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และในปัจจุบันไทยสารได้เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ
การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อเพื่อใช้ระบบอินเตอร์เน็ตโดยทั่วไปแล้วหน่วยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนจะให้บริการแก่ผู้ใช้ ผู้ใช้ยังสามารถเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต โดยใช้บริการขององค์กรที่เรียกว่าผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีจำนวน
โครงการอาร์พาเน็ตอยู่ในความควบคุมดูแลของอาร์พา (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานย่อย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อาร์พาทำหน้าที่สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยให้ทุนสนับสนุน แก่หน่วยงานอื่น ๆ เช่น มหาวิทยาลัย และบริษัทเอกชนที่ทำการวิจัยและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969)
โครงการอาร์พาเน็ต ได้ริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4 แห่งนี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกัน
ต่อมาเครือข่ายอาร์พาเน็ตได้รับความนิยมอย่างมาก มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมเชื่อมต่อกับเครือข่ายนี้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและวิจัย
ในประเทศไทยได้ติดต่อกับอินเตอร์เน็ตในลักษณะของการใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความร่วมมือระหว่างไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใช้สายโทรศัพท์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ต (UUNET) ของบริษัทยูยูเน็ตเทคโนโลยี จำกัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยู่ที่รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาและในปีเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่นสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต (THAINET) ซึ่งในปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สำนักวิทยาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ในปีเดียวศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ได้จัดตั้งเครือข่ายไทยสารซึ่งต่อมาได้ต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และในปัจจุบันไทยสารได้เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ
การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อเพื่อใช้ระบบอินเตอร์เน็ตโดยทั่วไปแล้วหน่วยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนจะให้บริการแก่ผู้ใช้ ผู้ใช้ยังสามารถเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต โดยใช้บริการขององค์กรที่เรียกว่าผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีจำนวน
1. เวิลด์ไวด์เว็บ (WWW) เวิลด์ไวด์เว็บ
หรือเครือข่ายใยแมงมุม
เหตุที่เรียกชื่อนี้เพราะว่าเป็นลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเรื่อยๆ เวิลด์ไวด์เว็บ
เป็นบริการที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
ในการเรียกดูเว็บไซต์ต้องอาศัยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web
browser) ในการดูข้อมูล
เว็บเบราว์เซอร์ที่ได้รับความนิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น โปรแกรม Internet
Explorer (IE) , Netscape Navigator
2 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การติดต่อสื่อสารโดยใช้อีเมลสามารถทำได้โดยสะดวก
และประหยัดเวลา หลักการทำงานของอีเมลก็คล้ายกับการส่งจดหมายธรรมดา นั้นคือ
จะต้องมีที่อยู่ที่ระบุชัดเจน ก็คือ
อีเมลแอดเดรส (E-mail address)
องค์ประกอบของ e-mail
address ประกอบด้วย
1. ชื่อผู้ใช้ (User name)
2. ชื่อโดเมน
Username@domain_name
การใช้งานอีเมล
สามารถแบ่งได้ดังนี้ คือ
1.
Corporate e-mail คือ อีเมล
ที่หน่วยงานต่างๆสร้างขึ้นให้กับพนักงานหรือบุคลากรในองค์กรนั้น เช่น u47202000@dusit.ac.th คือ e-mail ของนักศึกษาของสถาบันราชภัฏสวนดุสิต
เป็นต้น
2.
Free e-mail คือ อีเมล ที่สามารถสมัครได้ฟรีตาม web
mail ต่างๆ เช่น Hotmail, Yahoo Mail, Thai
Mail และ Chaiyo Mail
3. บริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol) เป็นบริการที่เกี่ยวข้องกับการโอนย้ายไฟล์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
การโอนย้ายไฟล์สามารถแบ่งได้ดังนี้ คือ
1. การดาวน์โหลดไฟล์ (Download File ) การดาวน์โหลดไฟล์
คือ การรับข้อมูลเข้ามายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้
ในปัจจุบันมีหลายเว็บไซต์ที่จัดให้มีการดาวน์โหลดโปรแกรมได้ฟรีเช่น www.download.com
2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) การอัพโหลดไฟล์คือการนำไฟล์ข้อมูลจากเครื่องของผู้ใช้ไปเก็บไว้ในเครื่องที่ให้บริการ (Server) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น กรณีที่ทำการสร้างเว็บไซต์
จะมีการอัพโหลดไฟล์ไปเก็บไว้ในเครื่องบริการเว็บไซต์ (Web server ) ที่เราขอใช้บริการพื้นที่ (web server) โปรแกรมที่ช่วยในการอัพโหลดไฟล์เช่น
FTP Commander
4 บริการสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Instant Message) การสนทนาบนอินเทอร์เน็ตคือ
การส่งข้อความถึงกันโดยทันทีทันใด นอกจากนี้ยังสามารถส่งสัญลักษณ์ต่างๆ อาทิ
รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย
การสนทนาบนอินเทอร์เน็ตเป็นโปรแกรมที่กำลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน
โปรแกรมประเภทนี้ เช่น โปรแกรม ICQ (I seek you) MSN Messenger,
Yahoo Messenger เป็นต้น
5 บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
1.
Web directory คือ การค้นหาโดยการเลือก Directory ที่จัดเตรียมและแยกหมวดหมู่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว website ที่ให้บริการ web directory เช่น www.yahoo.com,
http://www.sanook.com
2.
Search Engine คือ การค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Search โดยการเอาคำที่เราต้องการค้นหาไปเทียบกับเว็บไซต์ต่างๆ
ว่ามีเว็บไซต์ใดบ้างที่มีคำที่เราต้องการค้นหา website ที่ให้บริการ search engine เช่น www.yahoo.com,
http://www.sanook.com, http://www.google.co.th, http://www.sansarn.com
3.
Metasearch คือ การค้นหาข้อมูลแบบ Search
engine แต่จะทำการส่งคำที่ต้องการไปค้นหาในเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลอื่นๆ
อีก ถ้าข้อมูลที่ได้มีซ้ำกัน ก็จะแสดงเพียงรายการเดียว เว็บไซต์ที่ให้บริการ Metasearch เช่นwww.search.com, http://www.thaifind.com
6 บริการกระดานข่าวหรือ เวบบอร์ด (Web board)เว็บบอร์ด เป็นศูนย์กลางในการแสดงความคิดเห็น มีการตั้งกระทู้
ถาม-ตอบ ในหัวข้อที่สนใจ
เว็บบอร์ดของไทยที่เป็นที่นิยมและมีคนเข้าไปแสดงความคิดเห็นมากมาย คือ
เว็บบอร์ดของพันธ์ทิพย์ (www.pantip.com)
7. ห้องสนทนา (Chat Room)ห้องสนทนา
คือ การสนทนาออนไลน์อีกประเภทหนึ่ง ที่มีการส่งข้อความสั้นๆ ถึงกัน การเข้าไปสนทนาจำเป็นต้องเข้าไปในเว็บไซต์ที่ให้บริการห้องสนทนา
อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องเทคโนโลยีสื่อสารที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้แกผู้ใช้บริการ
ในลักษณะของการสื่อสารที่ผ่านทางคอมพิวเตอร์ และช่องทางการสื่อสารชนิดต่างๆ ไม่ได้เป็นการสื่อสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งโดยตรง
จึงทำให้เกิดทั้งประโยชน์และโทษในการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต
1.ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
1.สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นทั่วโลก
2.สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆได้เสมือนกับเราไปนั่งอยู่ที่ห้องสมุดขนาดใหญ่ได้ข้อมูลมากมายจากทั่วทุกมุมโลก
3.เปรียบเสมือนเวที่ให้เข้าไปแสดงความคิดเห็นได้ภายในห้องสนทนา(chat
room) และกระดานข่าว(Web room) เป็นการเปิดโลกกว้างและวิสัยทัศน์ในเรื่องที่น่าสนใจ
4.สามารถติดตามเคลื่อนไหวจากข่าวสารทั่วโลกอย่างรวดเร็ว
5.สามารถเปิดการค้าได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องหาที่จัดตั้งร้านหรือพนักงานบริการ
แต่สามารถทำการค้าได้ด้วยตัวเองคนเดียว
6.สามารถซื้อสินค้า โดยไม่ต้องเดินทางไปยังร้านค้า
ซื้อผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการ การชำระเงินก็สะดวก
เช่น ชำระผ่านบัตรเครดิต การหักเงินผ่านบัญชีธนาคาร
7.สามารถรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(E-mail) เป็นการส่งจดหมายที่ไม่ต้องเสียค่าบริการและรับส่งจดหมายได้ภายในและภายนอกประเทศ
นอกจากจดหมายที่เป็นข้อความแล้ว ยังส่งบัตรอวยพรในเทศการต่างๆได้อีก
8.สามารถอ่านนิตยสาร หนังสือพิมพ์
บทความ และเรื่องราวต่างๆได้ฟรีเหมือนกับเราซื้อหนังสือฉบับนั้นมาอ่านเอง
9.สามารถติดประกาศข้อความต่างๆที่ต้องการประกาศให้ผู้อื่นทราบได้
เช่น ประกาศขายบ้าน ประกาศสมัครงาน ประกาศขอความช่วยเหลือ
10.มีของฟรีอีกมากมายที่สามารถใช้บริการได้จากอินเทอร์เน็ต
เช่น ภาพ เพลง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดูหนัง
เกม
2. โทษของอินเทอร์เน็ต
1.อินเทอร์เน็ตเป็นเครืข่ายขนาดใหญ่ที่มีผู้คนมากมายเข้ามาใช้บริการ
เป็นเวทีเปิดกว้างและให้อิสระกับทุกคนที่เข้ามาเขียนข้อมูล
หรือติดประกาศต่างๆโดยปราศจากการกลั่นกรองที่ดี ทำให้ข้อมูลที่ได้รับไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นจริงหรือไม่
2.เกิดปัญญาหาของการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น
การดาวน์โหลดเพลง หรือรูปภาพมารวบรวมขาย
หรือเป็นปัญหาอย่างยิ่งคือ การตัดต่อภาพบุคคลที่มีชื่อเสียงให้กลายเป็นภาพแบบอนาจารหรือเสียหายได้
3.ก่อให้เกิดปัญหาด้านอาชญากรรม เพราะการเล่นอินเทอร์เน็ต
เช่น การล่อล่วงหญิงไปในทางที่ไม่ดี
การก่อคดีข่มขืน เนื่องจากเว็บไซต์โป๊
4.ก่อให้เกิดปัญหาการหมกหมุ่นของเยาวชนที่เข้าไปในเว็บไซต์
จนทำให้เกิดโรคติดต่อทางอินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองเเละสังคมได้
อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องเทคโนโลยีสื่อสารที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้แกผู้ใช้บริการ
ในลักษณะของการสื่อสารที่ผ่านทางคอมพิวเตอร์ และช่องทางการสื่อสารชนิดต่างๆ ไม่ได้เป็นการสื่อสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งโดยตรง
จึงทำให้เกิดทั้งประโยชน์และโทษในการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต
1.ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
1.สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นทั่วโลก
2.สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆได้เสมือนกับเราไปนั่งอยู่ที่ห้องสมุดขนาดใหญ่ได้ข้อมูลมากมายจากทั่วทุกมุมโลก
3.เปรียบเสมือนเวที่ให้เข้าไปแสดงความคิดเห็นได้ภายในห้องสนทนา(chat
room) และกระดานข่าว(Web room) เป็นการเปิดโลกกว้างและวิสัยทัศน์ในเรื่องที่น่าสนใจ
4.สามารถติดตามเคลื่อนไหวจากข่าวสารทั่วโลกอย่างรวดเร็ว
5.สามารถเปิดการค้าได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องหาที่จัดตั้งร้านหรือพนักงานบริการ
แต่สามารถทำการค้าได้ด้วยตัวเองคนเดียว
6.สามารถซื้อสินค้า โดยไม่ต้องเดินทางไปยังร้านค้า
ซื้อผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการ การชำระเงินก็สะดวก
เช่น ชำระผ่านบัตรเครดิต การหักเงินผ่านบัญชีธนาคาร
7.สามารถรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(E-mail) เป็นการส่งจดหมายที่ไม่ต้องเสียค่าบริการและรับส่งจดหมายได้ภายในและภายนอกประเทศ
นอกจากจดหมายที่เป็นข้อความแล้ว ยังส่งบัตรอวยพรในเทศการต่างๆได้อีก
8.สามารถอ่านนิตยสาร หนังสือพิมพ์
บทความ และเรื่องราวต่างๆได้ฟรีเหมือนกับเราซื้อหนังสือฉบับนั้นมาอ่านเอง
9.สามารถติดประกาศข้อความต่างๆที่ต้องการประกาศให้ผู้อื่นทราบได้
เช่น ประกาศขายบ้าน ประกาศสมัครงาน ประกาศขอความช่วยเหลือ
10.มีของฟรีอีกมากมายที่สามารถใช้บริการได้จากอินเทอร์เน็ต
เช่น ภาพ เพลง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดูหนัง
เกม
2. โทษของอินเทอร์เน็ต
1.อินเทอร์เน็ตเป็นเครืข่ายขนาดใหญ่ที่มีผู้คนมากมายเข้ามาใช้บริการ
เป็นเวทีเปิดกว้างและให้อิสระกับทุกคนที่เข้ามาเขียนข้อมูล
หรือติดประกาศต่างๆโดยปราศจากการกลั่นกรองที่ดี ทำให้ข้อมูลที่ได้รับไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นจริงหรือไม่
2.เกิดปัญญาหาของการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น
การดาวน์โหลดเพลง หรือรูปภาพมารวบรวมขาย
หรือเป็นปัญหาอย่างยิ่งคือ การตัดต่อภาพบุคคลที่มีชื่อเสียงให้กลายเป็นภาพแบบอนาจารหรือเสียหายได้
3.ก่อให้เกิดปัญหาด้านอาชญากรรม เพราะการเล่นอินเทอร์เน็ต
เช่น การล่อล่วงหญิงไปในทางที่ไม่ดี
การก่อคดีข่มขืน เนื่องจากเว็บไซต์โป๊
4.ก่อให้เกิดปัญหาการหมกหมุ่นของเยาวชนที่เข้าไปในเว็บไซต์
จนทำให้เกิดโรคติดต่อทางอินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองเเละสังคมได้
1.ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
1.สามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นทั่วโลก
2.สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆได้เสมือนกับเราไปนั่งอยู่ที่ห้องสมุดขนาดใหญ่ได้ข้อมูลมากมายจากทั่วทุกมุมโลก
3.เปรียบเสมือนเวที่ให้เข้าไปแสดงความคิดเห็นได้ภายในห้องสนทนา(chat
room) และกระดานข่าว(Web room) เป็นการเปิดโลกกว้างและวิสัยทัศน์ในเรื่องที่น่าสนใจ
4.สามารถติดตามเคลื่อนไหวจากข่าวสารทั่วโลกอย่างรวดเร็ว
5.สามารถเปิดการค้าได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องหาที่จัดตั้งร้านหรือพนักงานบริการ
แต่สามารถทำการค้าได้ด้วยตัวเองคนเดียว
6.สามารถซื้อสินค้า โดยไม่ต้องเดินทางไปยังร้านค้า
ซื้อผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการ การชำระเงินก็สะดวก
เช่น ชำระผ่านบัตรเครดิต การหักเงินผ่านบัญชีธนาคาร
7.สามารถรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์(E-mail) เป็นการส่งจดหมายที่ไม่ต้องเสียค่าบริการและรับส่งจดหมายได้ภายในและภายนอกประเทศ
นอกจากจดหมายที่เป็นข้อความแล้ว ยังส่งบัตรอวยพรในเทศการต่างๆได้อีก
8.สามารถอ่านนิตยสาร หนังสือพิมพ์
บทความ และเรื่องราวต่างๆได้ฟรีเหมือนกับเราซื้อหนังสือฉบับนั้นมาอ่านเอง
9.สามารถติดประกาศข้อความต่างๆที่ต้องการประกาศให้ผู้อื่นทราบได้
เช่น ประกาศขายบ้าน ประกาศสมัครงาน ประกาศขอความช่วยเหลือ
10.มีของฟรีอีกมากมายที่สามารถใช้บริการได้จากอินเทอร์เน็ต
เช่น ภาพ เพลง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดูหนัง
เกม
2. โทษของอินเทอร์เน็ต
1.อินเทอร์เน็ตเป็นเครืข่ายขนาดใหญ่ที่มีผู้คนมากมายเข้ามาใช้บริการ
เป็นเวทีเปิดกว้างและให้อิสระกับทุกคนที่เข้ามาเขียนข้อมูล
หรือติดประกาศต่างๆโดยปราศจากการกลั่นกรองที่ดี ทำให้ข้อมูลที่ได้รับไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นจริงหรือไม่
2.เกิดปัญญาหาของการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น
การดาวน์โหลดเพลง หรือรูปภาพมารวบรวมขาย
หรือเป็นปัญหาอย่างยิ่งคือ การตัดต่อภาพบุคคลที่มีชื่อเสียงให้กลายเป็นภาพแบบอนาจารหรือเสียหายได้
3.ก่อให้เกิดปัญหาด้านอาชญากรรม เพราะการเล่นอินเทอร์เน็ต
เช่น การล่อล่วงหญิงไปในทางที่ไม่ดี
การก่อคดีข่มขืน เนื่องจากเว็บไซต์โป๊
4.ก่อให้เกิดปัญหาการหมกหมุ่นของเยาวชนที่เข้าไปในเว็บไซต์
จนทำให้เกิดโรคติดต่อทางอินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองเเละสังคมได้
https://www.l3nr.org/posts/460787
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น